SDG Info

6

Project

3

Division

โครงการยกระดับสินค้าชุมชน OTOP ด้วยองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์

Targets and Indicators
Targets Indicator Result
2.5 National hunger 2.5.3 ให้การเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวกของมหาวิทยาลัย (เช่น ห้องปฏิบัติการ เทคโนโลยี สต็อคพืช) แก่เกษตรกรในท้องถิ่นและผู้ผลิตอาหารเพื่อปรับปรุงการทำฟาร์มแบบยั่งยืน
ห้องปฏิบัติการในชุมชน ที่ใช้เป็นในการเพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์สารชีวภัณฑ์ ได้แก่ ไตรโคเดอร์มา และบิวเวอร์เรีย เพื่อใช้ในการควบคุมศัตรูพืชได้เอง พึ่งตนเองได้ในด้านการควบคุมศัตรูพืชในกลุ่มเชื้อราและหนอนแมลง โดยตั้งเป็นจุดกลางในการผลิตและแจกจ่ายสารชีวภัณฑ์แก่เครือข่าย
Caveat
กลุ่มเครือข่ายผู้ปลูกผักปลอดภัยบ้านยางเครือ ต.ยางสักกระโพหลุ่ม อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี 
เกิดจาการรวมตัวกันของผู้ปลูกผักอินทรีย์ในพื้นที่ อ.ม่วงสามสิบ เหล่าเสือโก้ก ดอนมดแดงและตระการพืชผล จำนวนกว่า 30 ราย 
และต้องการความมั่นคงทางต้นน้ำในด้านการป้องกันศัตรูพืชที่เป็นสารชีวภัณฑ์ที่กลุ่มสามารถบริหารจัดการได้เองอย่างยั่งยืน
Process
วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรมต้นน้ำ : การศึกษาบริบทของกลุ่มเครือข่าย การวางแผนการพัฒนากลุ่มอย่างมีส่วนร่วม
- กิจกรรมกลางน้ำ : การออกแบบห้องถ่ายเชื้อ วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการดำเนินงาน
- กิจกรรมปลายน้ำ : การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยง ขยายพันธุ์ และการเก็บรักษาเชื้อรา (สารชีวภัณฑ์)
Impact Level
ชุมชนท้องถิ่น (local)
Impact
ผลลัพธ์ : กลุ่มสามารถเก็บรักษาสารชีวภัณฑ์ไว้ใช้เป็นหัวเชื้อสำหรับการควบคุมศัตรูพืช จำนวน 2 สายพันธุ์คือ ไตรโคเดอร์มาและบิวเวอร์เรีย
ผลผลิต : กลุ่มสามารถเพาะเลี้ยง การขยายพันธุ์เพื่อใช้ในการควบคุมศัตรูพืชได้เอง พึ่งตนเองได้ในด้านการควบคุมศัตรูพืชในกลุ่มเชื้อราและหนอนแมลง โดยตั้งเป็นจุดกลางในการผลิตและแจกจ่ายสารชีวภัณฑ์แก่เครือข่าย 
Division

วิทยาศาสตร์

Reporter

UBRU

2022-11-11 11:10:33

ลิงค์ข่าวการจัดกิจกรรม (website/FB)

https://www.facebook.com/ScienceUBRU/posts/pfbid08NiMcEe4BAVp7reaPMcp8pX5jNyZKwYm7RAitUxzrsQpHjtfmV9Rggurq9DYZayPl