SDG Info

6

Project

3

Division

โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นเพื่อขยายตลาดภูมิปัญญา

Targets and Indicators
Targets Indicator Result
2.5 National hunger 2.5.2 จัดกิจกรรมสำหรับเกษตรกรและผู้ผลิตอาหารในท้องถิ่นเพื่อเชื่อมโยงและถ่ายทอดความรู้
เพิ่มมูลค่าของข้าวอินทรีย์ โดยการแปรรูปผลิตภัณฑ์ใหม่ 2 ผลิตภัณฑ์ คือ ข้าวชงและแป้งข้าวอินทรีย์
เกิดการเชื่อมโยงตลาดจากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภคโดยตรงผ่านช่องทางออนไลน์ จำนวน 1 ช่องทาง
กลุ่มมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ เดิม 7,250  เพิ่มเป็น 15,000 บาท/เดือน เพิ่มขึ้นร้อยละ 106.9
Caveat
วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแปลงใหญ่ข้าวนิคมการเกษตรบูรณาการ ต.คำพระ  อ.หัวตะพาน จ.อำนาจเจริญ ประกอบด้วยสมาชิก 226 คน จาก 8 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ 1, 2, 3, 4, 5, 7, 10, และ 11 ในรอบปีการผลิต 2564 กลุ่มมีผลผลิตข้าวเปลือกอินทรีย์กว่า 674 ตัน/ปี สามารถจำหน่ายในราคาที่สูงกว่าท้องตลาด ในการผลิตเพื่อเป็นเมล็ดพันธุ์จำนวน 150 ตัน/ปี ในราคากิโลกรัมละ 17 บาท จำหน่ายให้กับกลุ่มจังหวัดเพื่อนำไปแปรรูปเป็นข้าวสารปริมาณ 50 ตัน/ปี ในราคากิโลกรัมละ 15 บาท ผลผลิตส่วนที่เหลือ 474 ตัน/ปี ที่เป็นข้าวอินทรีย์ขายได้เท่ากับราคาในราคา  ท้องตลาด กิโลกรัมละ 8 - 10 บาท
Process
1. การแปรรูปข้าวเป็นข้าวชงพร้อมดื่ม และแป้งสด
2. การออกแบบและวางแผนกระบวนการผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐาน GMP
3. การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของชุมชน
4. การตลาดออนไลน์ การไลฟ์สด
Impact Level
ชุมชนท้องถิ่น (local)
Impact
กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ใหม่ 2 ผลิตภัณฑ์ ที่มีตราสินค้า ฉลาก และบรรจุภัณฑ์ที่สวยงาม
	1. ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวสารอินทรีย์ เป็นข้าวชงพร้อมดื่ม 1 ผลิตภัณฑ์ มูลค่าเพิ่มขึ้น 30 เท่า
	2. ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลายข้าวอินทรีย์ เป็นแป้งข้าวจ้าว ข้าวเหนียวอินทรีย์ 1 ผลิตภัณฑ์ มูลค่าเพิ่มขึ้น 3.5 เท่า
เกิดการเชื่อมโยงตลาดจากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภคโดยตรงผ่านช่องทางออนไลน์ จำนวน 1 ช่องทาง
กลุ่มมีรายได้เพิ่มขึ้นจาก 7,250  เป็น 15,000 บาท/เดือน เพิ่มขึ้นร้อยละ 106.9
ลิงค์ข่าวการจัดกิจกรรม (website/FB)

https://www.facebook.com/ScienceUBRU/posts/pfbid087CspDpxWSdth7Smqi6bsetfeqZowHFqg9zdhk1BpF1YZzrQXqQSFRx9Ta5HKVaBl